ข้อแนะนำในการเขียนรายงานการฝึกงาน
รายงานการฝึกงาน ควรประกอบด้วย
1. ข้อมุลทั่วไปเกี่ยวกับสถานที่ฝึกงาน ได้แก่
1.1 ชื่อ ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ พร้อมนโยบายหรือเป้าหมายของการดำเนินงานหรือประกอบการ
1.2 ลักษณะและวิธีการของการดำเนินงานหรือการประกอบการ เช่น เป็นหน่วยผลิต หรือหน่วยบริการ ใช้ปัจจัยใดเพื่อการผลิตปริมาณการผลิตเป็นเท่าใด และอย่างไร
1.3 ระบบการบริหารและอัตรากำลัง โดยแสดงแผนผังการแบ่งสายงาน Oranization Chart หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานย่อยแต่ะละหน่วยงาน และให้แสดงข้อคิดเห็นว่าเหมาะสมหรือไม่
1.4 เขียนแผนผัง (Lay-Out) ของสถานที่ฝึกงาน แสดงบริเวณและที่ตั้งของหน่วยงานย่อยที่ประกอบการกิจกรรมต่าง ๆ
2. ข้อมูลเฉพาะเกี่ยวกับการฝึกงานของนักศึกษา ได้แก่
2.1 หน่วยงานย่อยที่ศึกษา ได้รับมอบหมายให้ประจำการ
2.2 หน้าที่รับฝิดชอบของหน่วยงานย่อย
2.3 หน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษา โดยระบุขอบข่ายของงานและกิจการต่าง ๆ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.4 บุคคลและหรือหน่วยงานอื่นที่ต้องเกี่ยวข้องในการปฎิบติหน้าที่
2.5 เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบหน้าที่ โดยบรรยายสภาพ input output กำลังการผลิตปัญหาเครื่อง และเปรียบเทียบกับเครื่องอื่น (ที่รุ้)
2.6 นโยบายและวิธีการดำเนินงานของหน่วยงานย่อย เช่น มาตราการควบคุมความปลอดภัย(Safety Measures)
การควบคุมคุณภาพ(Quality Control) นโยบายการบำรุงรักษา(Maintanance Policy) การรายงานผลการปฎิบัติงาน
2.7 ปัญหาและอุปสรรค์ในการปฎิบัติงานตามหน้าที่รับผิดชอบโดยเน้นหน้าที่ เป็นผลให้การปฎิบัติงานขาดประสิทธิภาพ เช่น การประสานงาน การจ่ายงาน การติดตาม ความล้าสมัยของเครื่องจักร อุปกรณ์ คุณภาพของผลผลิต
3.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
3.1 ประสบการณ์ด้สนวิชาชีพในเชิงปฎิบัติที่คิดว่าจะได้รับ
3.2 ความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์ในการปฎิบัติงาน
3.3 แนวทางแก้หรือผ่อนคลายปัญหาและอุปสรรค์ที่พบเห็นตามข้อ (2.7)
รายงานการฝึกงาน ควรประกอบด้วย
1. ข้อมุลทั่วไปเกี่ยวกับสถานที่ฝึกงาน ได้แก่
1.1 ชื่อ ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ พร้อมนโยบายหรือเป้าหมายของการดำเนินงานหรือประกอบการ
1.2 ลักษณะและวิธีการของการดำเนินงานหรือการประกอบการ เช่น เป็นหน่วยผลิต หรือหน่วยบริการ ใช้ปัจจัยใดเพื่อการผลิตปริมาณการผลิตเป็นเท่าใด และอย่างไร
1.3 ระบบการบริหารและอัตรากำลัง โดยแสดงแผนผังการแบ่งสายงาน Oranization Chart หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานย่อยแต่ะละหน่วยงาน และให้แสดงข้อคิดเห็นว่าเหมาะสมหรือไม่
1.4 เขียนแผนผัง (Lay-Out) ของสถานที่ฝึกงาน แสดงบริเวณและที่ตั้งของหน่วยงานย่อยที่ประกอบการกิจกรรมต่าง ๆ
2. ข้อมูลเฉพาะเกี่ยวกับการฝึกงานของนักศึกษา ได้แก่
2.1 หน่วยงานย่อยที่ศึกษา ได้รับมอบหมายให้ประจำการ
2.2 หน้าที่รับฝิดชอบของหน่วยงานย่อย
2.3 หน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษา โดยระบุขอบข่ายของงานและกิจการต่าง ๆ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.4 บุคคลและหรือหน่วยงานอื่นที่ต้องเกี่ยวข้องในการปฎิบติหน้าที่
2.5 เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบหน้าที่ โดยบรรยายสภาพ input output กำลังการผลิตปัญหาเครื่อง และเปรียบเทียบกับเครื่องอื่น (ที่รุ้)
2.6 นโยบายและวิธีการดำเนินงานของหน่วยงานย่อย เช่น มาตราการควบคุมความปลอดภัย(Safety Measures)
การควบคุมคุณภาพ(Quality Control) นโยบายการบำรุงรักษา(Maintanance Policy) การรายงานผลการปฎิบัติงาน
2.7 ปัญหาและอุปสรรค์ในการปฎิบัติงานตามหน้าที่รับผิดชอบโดยเน้นหน้าที่ เป็นผลให้การปฎิบัติงานขาดประสิทธิภาพ เช่น การประสานงาน การจ่ายงาน การติดตาม ความล้าสมัยของเครื่องจักร อุปกรณ์ คุณภาพของผลผลิต
3.ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
3.1 ประสบการณ์ด้สนวิชาชีพในเชิงปฎิบัติที่คิดว่าจะได้รับ
3.2 ความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์ในการปฎิบัติงาน
3.3 แนวทางแก้หรือผ่อนคลายปัญหาและอุปสรรค์ที่พบเห็นตามข้อ (2.7)
แนวทางในการเตรีมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
คำอธิบายรายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 (90)
จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชชีพในด้านการรับรุ้ลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ
แนวทางการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
1. เตรียมการปฐมนิเทศนักศุกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ให้ไปศึกาาและสังเกตสถานประกอบการ
2. ศึกษาดูงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการ ในลักษณะ
- ดุ - สัมภาษณ์
- ฟัง - สังเกต
- ซักถาม
ในเรื่องต่อไปนี้
- สภาพทั่วไปของสถานประกอบการหรือโรงงาน
- การปฎิบัติงานในสถานประกอบการหรือโรงงาน
- การบริหารและการบริการของสถานประกอบการหรือโรงงาน
- ศึกษาการปฎิบัติงานในสถานประกอบการหรือโรงงาน
- ภารกิจของสถานประกอบการ
- พฤติกรรมของพนักงาน
ฯลฯ
3. เชิญวิทยากรจากสถาประกอบการหรือโรงงานมาให้ความรุ้เกี่ยวกับการฝึกปฎิบัติงาน
4. สร้างสถานการณ์จำลองเพื่อฝึกในการแก้ปัญหาการปฎิบัติงาน เช่น
- กรณีศึกษา
- วิเคราะห์จากสถานการณืจำลอง เช่น V.D.O.
5. จัดประสบการณืเสริมในด้านที่นักศึกษายังขาด เช่น
- ความรุ้เกี่ยวกับงานที่จะไปฝึก
- เทคนิควิธีในการปฎิบัติงาน
- คุณลักษณะอื่น ๆ เช่น คุรธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ การอนุรักษ์สภาพแวดล้อม ฯลฯ
6. ควรมี V.D.O. เกี่ยวกับงานที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาดู
จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชชีพในด้านการรับรุ้ลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ
แนวทางการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
1. เตรียมการปฐมนิเทศนักศุกษาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ให้ไปศึกาาและสังเกตสถานประกอบการ
2. ศึกษาดูงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการ ในลักษณะ
- ดุ - สัมภาษณ์
- ฟัง - สังเกต
- ซักถาม
ในเรื่องต่อไปนี้
- สภาพทั่วไปของสถานประกอบการหรือโรงงาน
- การปฎิบัติงานในสถานประกอบการหรือโรงงาน
- การบริหารและการบริการของสถานประกอบการหรือโรงงาน
- ศึกษาการปฎิบัติงานในสถานประกอบการหรือโรงงาน
- ภารกิจของสถานประกอบการ
- พฤติกรรมของพนักงาน
ฯลฯ
3. เชิญวิทยากรจากสถาประกอบการหรือโรงงานมาให้ความรุ้เกี่ยวกับการฝึกปฎิบัติงาน
4. สร้างสถานการณ์จำลองเพื่อฝึกในการแก้ปัญหาการปฎิบัติงาน เช่น
- กรณีศึกษา
- วิเคราะห์จากสถานการณืจำลอง เช่น V.D.O.
5. จัดประสบการณืเสริมในด้านที่นักศึกษายังขาด เช่น
- ความรุ้เกี่ยวกับงานที่จะไปฝึก
- เทคนิควิธีในการปฎิบัติงาน
- คุณลักษณะอื่น ๆ เช่น คุรธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ การอนุรักษ์สภาพแวดล้อม ฯลฯ
6. ควรมี V.D.O. เกี่ยวกับงานที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาดู
โอ้ยๆๆเสดแล้ว 555+
ตอบลบ